วิธีแก้อาการสะอึก เกิดจากการหดเกร็งกะบังลม รู้จักกับ อัลปากา โดยไม่ได้ตั้งใจ เนื่องจากกะบังลม และกล้ามเนื้อช่องระหว่างซี่โครง ทำงานไม่สัมพันธ์กัน โดยปกติไม่มีสัญญาณ บ่งบอกถึงอันตราย และถือเป็นอาการปกติ ที่สามารถเกิดขึ้นเป็นครั้งคราว อาการสะอึกทั่วไปจะเกิดขึ้นเพียง 2-3 นาทีแล้วหายไป แต่หากเกิดเป็นเวลานาน ต้องรีบไปพบแพทย์ เพราะอาจเป็นเชื้อโรค หรือมีปัญหาทางการเเพทย์อื่นๆ รวมถึงอาการปวดท้องรุนแรง และถ่ายเป็นเลือดด้วย สาเหตุที่ทำให้เกิดอาการสะอึกนั้น มักเป็นผลมาจากพฤติกรรม ที่เราทำในชีวิตประจำวัน หลายคนคงหาวิธีที่จะรับมือ กับเจ้าอาการนี้แตกต่างกันออกไป ทั้งการดื่มน้ำ, กลั้นหายใจ หรือวิธีอื่นๆยอดฮิต ที่คนอื่นทำกัน
สาเหตุของอาการ
- ระบบประสาท คาสิโนออนไลน์เว็บตรง ที่ควบคุมกระบังลมถูกรบกวน
- การขยายตัวของกระเพาะอาหารมากเกินไป
- การเปลี่ยนที่รวดเร็วในอุณภูมิห้อง
- การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์มาก ๆ
- ปัจจัยด้านจิตใจ เช่น เครียด ตื่นเต้น กลัว
5 วิธีแก้อาการสะอึก ยังไงให้หาย แนะนำวิธีง่ายๆ แต่ได้ผลจริง
- การกลั้นหายใจ 10 วินาที วิธีลดอาการสะอึกง่ายๆคือ หายใจเข้า กลั้นหายใจ 10 วินาที หายใจออก และดื่มน้ำตามทันที เพราะจะช่วยลดอาการสะอึกได้ โดยการกักเก็บคาร์บอนไดออกไซด์ ไว้ในปอดจนกะบังลมคลายออกเป็นปกติ
- การอมน้ำก่อนกลืน วิธีแก้สะอึกกรณี สามารถทำได้ง่ายๆ เช่นกัน โดยใช้วิธีการกลืนน้ำลายของตัวเอง เริ่มแรกให้กลั้นหายใจ นับ 1-10 จากนั้นกลืนน้ำลายตาม 3-4 ครั้ง ก่อนจะกลับมาหายใจปกติ ก็จะช่วยให้อาการสะอึกหายไปได้เช่นกัน
- การกดจุด การกดจุดสะอึก อีกหนึ่งวิธีแก้สะอึก ที่ได้รับความนิยมสูง เนื่องจากสามารถทำได้ง่าย สะดวก และไม่ต้องใช้น้ำ หรืออุปกรณ์อื่นๆ เพิ่ม เพียงกดจุดบริเวณเนินใต้นิ้วโป้งแรงๆ ข้างใดข้างหนึ่ง หากยังไม่หายดี แนะนำให้กดจุดบริเวณรอยหยัก เหนือริมฝีปากบนร่วมด้วย
- การกินอาหารที่มีรสเปรี้ยว อีกหนึ่งวิธีคือ การกินอาหารหรือของที่มีรสเปรี้ยว เช่น น้ำมะนาว น้ำผลไม้ ส้ม เนื่องจากจะช่วยกระตุ้นการรับรส และระบบประสาทในร่างกาย ให้กลับมาทำงานปกติ
- การทำให้ตกใจ การทำให้ผู้ที่สะอึกนั้นตกใจ เมื่อมีอาการตกใจ จะทำให้ร่างกายสูดหายใจเข้าอย่างแรง ส่งผลให้อาการสะอึกหายไป แม้ว่าจะนิยมใช้วิธีนี้ แก้สะอึกในเด็ก แต่ต้องระวังไม่ให้เด็กตกใจ จนหวาดกลัวเกินไป